Skip to content
  • Buying a Car
    สนใจซื้อรถ
  • Buying Insurance
    สนใจซื้อประกัน
  • Car Service
    สนใจเข้ารับบริการ
  • Our Story
    อยากรู้จักเรา
  • Join Us
    ร่วมงานกับเรา
  • Horoscope
    ฤกษ์ดี…มีสิริมงคล
  • K.Motors Guru
    เค.มอเตอร์ส กูรู
  • Promotions
    โปรโมชั่น
  • Auto Reviews
    รีวิวรถยนต์
  • News & Events
    ข่าวและกิจกรรม
  • Privileges
    สิทธิพิเศษ
  • Privacy & Security Policy
    นโยบายความเป็นส่วนตัว
    • Promotions
      โปรโมชั่น
    • Auto Reviews
      รีวิวรถยนต์
    • News & Events
      ข่าวและกิจกรรม
    • K.Motors Privileges
      สิทธิพิเศษ
    • Privacy & Security Policy
      นโยบายความเป็นส่วนตัว
Call Center : 02-662-6555

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1//kmotors-guru//2025-05-14//2023//14269 Views4480

+ 2

+ 1

+ 0

  • Facebook iconFacebook
อัพเดท : 9 พฤษภาคม 2567

วิธีเข้าเกียร์ เมื่อจอดรถเพื่อถนอมเกียร์

ทำอย่างไร

ช่วยทำให้อายุการใช้งานเกียร์นานขึ้น…
การจอดรถไม่ถูกวิธีส่งผลทำให้เกียร์เกิดการสึกหรอ หรือทำให้เกิดความเสียหายตามมาได้ในระยะยาว วิธีการเข้าเกียร์ที่ถูกต้องเมื่อจอดรถจะช่วยลดการสึกหรอของเกียร์ และช่วยให้เกียร์ไม่เกิดความเสียหายก่อนเวลาอันควร

วิธีเข้าเกียร์ เมื่อจอดรถ เพื่อทำการถนอมเกียร์

สำหรับการจอดรถ “เกียร์อัตโนมัติ” สามารถใช้ได้ทั้งในการจอดบนทางราบและทางลาดชัน

 

1. หยุดรถให้นิ่งก่อนด้วยการเหยียบเบรกค้างไว้ก่อนทุกครั้ง
2. ให้ทำการดึงเบรกมือขึ้นจนสุด
3. เลื่อนคันเกียร์ไปยังตำแหน่ง เกียร์ “N” จากนั้นปล่อยเท้าออกจากแป้นเบรกช้าๆ ตรวจสอบดูว่ารถไม่ไหล (หากรถไหลให้ดึงเบรกมือขึ้นอีก)
4. เหยียบเบรกแล้วเลื่อนคันเกียร์ไปที่เกียร์ “P” และปล่อยเท้าขวาออกจากแป้นเบรกช้าๆ แล้วทำการดับเครื่องยนต์
5. หากต้องการจอดรถให้เข็นได้ ให้ทำตามขั้นตอน 1 – 4 แล้วจึงกดปุ่ม Shift LocK จากนั้นจึงเลื่อนคันเกียร์ไปที่เกียร์ N ก่อนจะทำการปลดเบรกมือเมื่อมั่นใจว่ารถจะไม่ไหล

 

สิ่งที่ห้ามทำ….

ห้ามเลื่อนคันเกียร์ไปยังตำแหน่งเกียร์ “P” ก่อนที่รถจะหยุดนิ่งสนิท เพื่อป้องกันกลไกของเกียร์เกิดความเสียหายได้ หากเข้าเกียร์ P จะทำให้กลไกล็อกของเกียร์ P ขบกับร่องฟันของชุดเกียร์ P ทันที ส่งผลให้ชุดกลไกรับแรงการเคลื่อนที่ของรถทั้งหมดเอาไว้ และส่งผ่านไปที่ยางแท่นเครื่องแท่นเกียร์ เมื่อทำบ่อยๆ ยางแท่นเครื่องแท่นเกียร์จะมีอายุการใช้งานสั้นลงตามไปด้วย

 

ในส่วนของการจอดรถ “เกียร์ธรรมดา” สามารถทำการถนอมเกียร์ได้ตามวิธีดังต่อไปนี้…

 

1. เหยียบคลัตซ์และเหยียบเบรกรถจนรถหยุดนิ่ง
2. ทำการโยกคันเกียร์มาที่ตำแหน่งเกียร์ว่างโดยที่ยังเหยียบเบรกค้างไว้
3. ดึงเบรกมือให้สุด และปล่อยเท้าออกจากแป้นเบรก ตรวจสอบดูว่ารถไม่ไหล ถ้าไหลให้ดึงเบรกมือเพิ่มอีก
4. ในกรณีจอดรถบนทางลาดชันให้เข้าเกียร์สูงสุดที่รถคันนั้นมี เช่น เกียร์ 5 เพื่อให้เกียร์ช่วยดึงรถอีกแรง ในกรณี
ไม่มีหมอนหนุนล้อและเป็นรถที่มีน้ำหนักมากหรือมีการบรรทุกหนัก
5. หลังจากจอดแล้ว ในกรณีที่จะออกรถก่อนทำการสตาร์ตรถต้องตรวจสอบตำแหน่งเกียร์ก่่อนทุกครั้งว่า
เกียร์อยู่ที่ตำแหน่งเกียร์ว่างไหม แล้วค่อยสตาร์ตเครื่องยนต์ ก่อนจะเข้าเกียร์ให้เหยียบเบรกไว้แล้วค่อยเหยียบคลัตซ์ และทำการเข้าเกียร์ จากนั้นจึงปลดเบรกมือ เพื่อเป็นการป้องกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นได้

 

ดังนั้นจึงพอจะสรุปได้ว่าวิธีการเข้าเกียร์เมื่อจอดรถเพื่อถนอมเกียร์ ทั้งรถเกียร์อัตโนมัติและรถเกียร์ธรรมดาจะต้องเหยียบเบรกให้รถหยุดนิ่งก่อนทุกครั้ง เพื่อให้ไม่เกิดความเสียหายกับเกียร์และการจอดรถบนทางลาดชัน จำเป็นจะต้องทำการดึงเบรกมือด้วยทุกครั้งเพื่อความปลอดภัยครับ

 

สายพานสายพาน

 

 

เรื่องที่น่าสนใจอื่นๆ

  • แบตเตอรี่ Smart Key หมด ทำอย่างไร
  • สัญลักษณ์สามเหลี่ยม บนแก้มยางมีประโยชน์อย่างไร
  • ความรู้เกี่ยวกับรถยนต์เรื่องอื่นๆ
  • คุยกับช่างเค คลิก 
  • คุยกับเราได้ที่ https://www.facebook.com/toyotakmotors
63220:23769 Views35755

เติมน้ำมัน 95 แล้วเติม 91 ผสมน้ำมันเดิมได้ไหม?

เติมน้ำมันผสมกันส่งผลอย่างไรกับเครื่องยนต์…
การเติมน้ำมันผสมหรือสลับกันได้หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับรถยนต์แต่ละคัน ซึ่งสามารถดูได้ขากคู่มือรถยนต์นั้นๆ การเติมน้ำมันผสมหรือสลั...อ่านต่อ
เติมน้ำมันผสมกันส่งผลอย่างไรกับเครื่องยนต์…
การเติมน้ำมันผสมหรือสลับกันได้หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับรถยนต์แต่ละคัน ซึ่งสามารถดูได้ขากคู่มือรถยนต...อ่านต่อ
  • Facebook iconFacebook
63974:21907 Views29749

EGR คืออะไร และการอุด EGR มีผลอย่างไรกับรถยนต์บ้าง

มีข้อดี ข้อเสียกับรถอย่างไรบ้าง…
EGR (Exhaust Gas Recirculation) คือ เป็นระบบที่นำไอเสียที่ผ่านการเผาไหม้จากห้องจุดระเบิดมาแล้ว หมุนเวียนกลับมาเข้าที่ห้องจุดระเบิดใหม่เพื่...อ่านต่อ
มีข้อดี ข้อเสียกับรถอย่างไรบ้าง…
EGR (Exhaust Gas Recirculation) คือ เป็นระบบที่นำไอเสียที่ผ่านการเผาไหม้จากห้องจุดระเบิดมาแล้ว หมุนเวียนกลับ...อ่านต่อ
  • Facebook iconFacebook
63478:18897 Views10221

บูชคันเกียร์ต้องกี่กิโลเมตร ถึงต้องเปลี่ยน??

สังเกตได้อย่างไรว่าต้องเปลี่ยนแล้ว….
บูชคันเกียร์ คืออะไร บูชเกียร์คืออุปกรณ์ที่ช่วยล็อกให้เกียร์อยู่ในตำแหน่งที่ต้องการ ซึ่งหากบูชเกียร์มีลักษณะแตก หรือหลวม ก็จะทำให้เกิด...อ่านต่อ
สังเกตได้อย่างไรว่าต้องเปลี่ยนแล้ว….
บูชคันเกียร์ คืออะไร บูชเกียร์คืออุปกรณ์ที่ช่วยล็อกให้เกียร์อยู่ในตำแหน่งที่ต้องการ ซึ่งหากบูชเกียร์มีลั...อ่านต่อ
  • Facebook iconFacebook
69336:15979 Views6633

ไฟเตือนน้ำมันโชว์ ขับต่อได้อีกกี่กิโลโมตร ?

แต่ไม่ควรปล่อยไฟเตือนน้ำมันโชว์บ่อยๆ
โดยทั่วไปแล้ว ควรเติมน้ำมันเมื่อเข็มน้ำมันลดเหลือประมาณ 1 ใน 4 ของถัง เพื่อประสิทธิภาพในการระบายความร้อนให้กับปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงในรถยนต์เค...อ่านต่อ
แต่ไม่ควรปล่อยไฟเตือนน้ำมันโชว์บ่อยๆ
โดยทั่วไปแล้ว ควรเติมน้ำมันเมื่อเข็มน้ำมันลดเหลือประมาณ 1 ใน 4 ของถัง เพื่อประสิทธิภาพในการระบายความร้อนให้กับ...อ่านต่อ
  • Facebook iconFacebook
66764:18600 Views6208

ใช้เกียร์ S ตอนไหนดี ให้เหมาะสมและปลอดภัยที่สุด..

เปลี่ยนเกียร์ S เครื่องยนต์กำลังสูง
การเลือกเกียร์รถยนต์ มีส่วนสำคัญในการเลือกซื้อรถยนต์ในปัจจุบันเป็นอย่างมาก หลายคนให้ความสำคัญเนื่องจากเกียร์ถือเป็นอุปกรณ์หลักที่ช่วยควบคุมกา...อ่านต่อ
เปลี่ยนเกียร์ S เครื่องยนต์กำลังสูง
การเลือกเกียร์รถยนต์ มีส่วนสำคัญในการเลือกซื้อรถยนต์ในปัจจุบันเป็นอย่างมาก หลายคนให้ความสำคัญเนื่องจากเกียร์ถือ...อ่านต่อ
  • Facebook iconFacebook
63439:12560 Views5638

สัญลักษณ์ เกียร์ออโต้ ที่ต้องรู้!

เติมน้ำมันผสมกันส่งผลอย่างไรกับเครื่องยนต์…
มาทำความรู้จักกับเกียร์ออโต้ (Auto) ว่าเกียร์ไหนมีความหมายอย่างไรบ้าง และใช้งานยังไงเหมาะสำหรับใช้ในสถานการณ์ไหน พร้อมแนะนำเทคน...อ่านต่อ
เติมน้ำมันผสมกันส่งผลอย่างไรกับเครื่องยนต์…
มาทำความรู้จักกับเกียร์ออโต้ (Auto) ว่าเกียร์ไหนมีความหมายอย่างไรบ้าง และใช้งานยังไงเหมาะสำหรับใช...อ่านต่อ
  • Facebook iconFacebook
prev
next
  • คุ้มค่า ไม่เอาเปรียบราคา
  • ประกันคุณภาพ ซ่อมเหนือมาตรฐาน
  • บริการด้วยใจ บริการหลังการขาย
  • สิทธิพิเศษ ช่วยเหลือ 24 ชั่วโมง
รถยนต์นั่งส่วนบุคคล
  • YARIS ATIV
  • YARIS
  • YARIS CROSS
  • COROLLA ALTIS
  • COROLLA CROSS
  • CAMRY
  • BZ4X
  • GR 86
  • GR YARIS
  • GR COROLLA
  • GR SUPRA
รถยนต์เพื่อการพาณิชย์
  • HILUX CHAMP
  • REVO STANDARD CAB
  • REVO SMART CAB
  • REVO DOUBLE CAB
  • HIACE
  • COMMUTER
  • MAJESTY
รถอเนกประสงค์
  • VELOZ
  • FORTUNER
  • INNOVA
  • COASTER
  • ALPHARD
เมนูที่สนใจ
  • สนใจซื้อประกัน
  • สนใจเข้ารับบริการ
  • สนใจร่วมงานกับเรา
  • อยากรู้จัก เค.มอเตอร์ส
  • ค้นหาโชว์รูม
  • เค.มอเตอร์ส กูรู
  • เช็กฤกษ์ออกรถ
TOYOTA K.MOTORS TOYOTA’S DEALER

สำนักงานใหญ่ 769 ซ.สุขุมวิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

โทร: 02-662-6555
E-mail: customerservice@kmotors.co.th

  • Buying a Car
    สนใจซื้อรถ
  • Buying Insurance
    สนใจซื้อประกัน
  • Car Service
    สนใจเข้ารับบริการ
  • Our Story
    อยากรู้จักเรา
  • Join Us
    ร่วมงานกับเรา
  • Horoscope
    ฤกษ์ดี…มีสิริมงคล
  • K.Motors Guru
    เค.มอเตอร์ส กูรู
  • Promotions
    โปรโมชั่น
  • Auto Reviews
    รีวิวรถยนต์
  • News & Events
    ข่าวและกิจกรรม
  • Privileges
    สิทธิพิเศษ
  • Privacy & Security Policy
    นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • รถยนต์นั่งส่วนบุคคล
  • รถยนต์เพื่อการพาณิชย์
  • รถยนต์อเนกประสงค์
  • YARIS ATIV

    เริ่มต้น 549,000 บาท

  • YARIS

    เริ่มต้น 559,000 บาท

  • YARIS CROSS

    เริ่มต้น 789,000 บาท

  • COROLLA ALTIS

    เริ่มต้น 894,000 บาท

  • COROLLA CROSS

    เริ่มต้น 999,000 บาท

  • CAMRY

    เริ่มต้น 1,455,000 บาท

  • BZ4X

    เริ่มต้น 1,836,000 บาท

  • GR 86

    เริ่มต้น 2,949,000 บาท

  • GR YARIS

    เริ่มต้น 3,499,000 บาท

  • GR COROLLA

    เริ่มต้น 4,199,000 บาท

  • GR SUPRA

    เริ่มต้น 5,199,000 บาท

  • HILUX CHAMP

    เริ่มต้นที่ 459,000 บาท

  • REVO STANDARD CAB

    เริ่มต้น 584,000 บาท

  • REVO SMART CAB

    เริ่มต้น 669,000 บาท

  • REVO DOUBLE CAB

    เริ่มต้น 744,000 บาท

  • HIACE

    เริ่มต้น 1,019,000 บาท

  • COMMUTER

    เริ่มต้น 1,289,000 บาท

  • MAJESTY

    เริ่มต้น 1,989,000 บาท

  • VELOZ

    เริ่มต้น 795,000 บาท

  • FORTUNER

    เริ่มต้น 1,239,000 บาท

  • INNOVA ZENIX

    เริ่มต้น 1,379,000 บาท

  • COASTER

    เริ่มต้น 1,960,000 บาท

  • ALPHARD

    เริ่มต้น 4,129,000 บาท

prev
next